บทความที่น่าสนใจ

 

ตาบวมเพราะร้องไห้จะทำอย่างไรดี?

ตาบวม (Swollen eyes) เกิดจากการคั่งตัวของน้ำหรือเกิดการอักเสบในบริเวณรอบดวงตา ส่วนใหญ่เกิดจากเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อบริเวณที่อ่อนแอและความยืดหยุ่นลดลง จนทำให้เกิดถุงใต้ตาบวม

read more

วิธีป้องกันไม่ให้มีเชื้อราเกิดขึ้นในอาหาร

การเน่าเสียของอาหาร การเน่าเสียของอาหาร หมายถึง การที่อาหารนั้นไม่สามารถนำมาบริโภคหรือรับประทานได้อีก เนื่องจากอาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหารมีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนั้นอาจเกิดได้ทั้งทางกายภาพ ทางเคมี และจุลลินทรีย์ ซึ่งนอกจากทำให้ผู้บริโภคไม่ยอมรับแล้วยังก่อเกิดโรคและทำอันตรายให้กับผู้บริโภคได้ อาหารเสื่อมคุณภาพ เกิดการเน่าเสียจากจุลินทรีย์ ไม่เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับของตลาดผู้บริโภค ประกอบด้วย เนื้อสัมผัส กลิ่น รูปร่างลักษณะปรากฏของอาหาร เป็นต้น การสูญเสียคุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งหรือมากกว่าแสดงว่า อาหารมีการเสื่อมคุณภาพเน่าเสีย การเน่าเสียของอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหาร หรือเครื่องดื่ม ซอสปรุงรส น้ำจิ้ม ไม่ได้พิจารณาเพียงแค่การมี หรือเกิดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ แต่ยังรวมไปถึงการยอมรับของผู้บริโภคแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม การเสื่อมคุณภาพและการเน่าเสียของอาหารเป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ลดปริมาณการบริโภค AGVDbNVutgwiep6615bjTJnQkScwWuUEMuU95NredRG5 ลักษณะเมื่ออาหารเกิดการเน่าเสียหรือบูด กลิ่นของอาหารเปลี่ยนไปจากเดิม เช่น เหม็นเปรี้ยว เหม็นหืน เหม็นเน่า ลักษณะของอาหารมีการเปลี่ยนแปลง เช่น อาหารแข็งเป็นก้อน แฉะ เหนียว แกงกะทิอาจข้น หนืด ติดช้อน มีฟอง รสชาติของอาหารที่เปลี่ยนไป เช่น เปรี้ยว ซ่าลิ้น เป็นต้น พบสิ่งแปลกปลอมหรือสีของอาหารเปลี่ยนซึ่งอาจเป็นเชื้อราได้

read more

พักชำระหนี้เกษตรกรเริ่ม ต.ค.นี้

“หลักการก็เพื่อให้เกษตรกรมีเวลาไปฟื้นฟูทำงานและทำมาหากิน ไม่ใช่มาพะวงหน้าพะวงหลังกับหนี้สิน จะได้มีขวัญกำลังใจไปหารายได้ คาดการณ์ว่าเดือนตุลาคมนโยบายนี้จะทำได้ กำลังให้กรรมการผู้จัดการใหญ่ไปดูขั้นตอนเรื่องการขออนุมัติทั้งหลายและประสานกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง”

read more

มีพืชที่กินคนได้จริง ๆ หรือไม่?

พืชกินแมลง หมายถึง พืชที่ได้สารอาหารบางส่วนหรือส่วนใหญ่ จากการดักและบริโภคสัตว์หรือสัตว์เซลล์เดียว ซึ่งปกติได้แก่ แมลง และสัตว์ขาปล้องเหล่าอื่นๆ โดยเป็นผลจากการปรับตัวให้อยู่รอดในดินที่มีสารอาหารน้อย

read more

มะเร็ง ภัยเงียบสำหรับคนหนุ่มสาว

วิถีชีวิตที่ไม่เอื้ออำนวยให้มีสุขภาพดี, การกินอาหารที่ผิดหลักโภชนาการ, การสูบบุหรี่และบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์, ความอ้วน และชีวิตประจำวันที่ขาดการเคลื่อนไหวออกกำลังกาย เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้คนหนุ่มสาวล้มป่วยด้วยโรคมะเร็งกันมาก

read more

เตรียมแผนแจกเงินดิจิทัล 10,000 บาท

เงินดิจิทัล 10,000 บาท ที่จะให้แก่ประชาชนในงวดเดียว เพื่อให้เกิดแรงกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยกำหนดให้ใช้จ่ายภายใน 6 เดือน ทั้งนี้จะเป็นในรูป e-Money

read more

ทำไมมนุษย์ต้องใส่แว่น?

"แว่น" ชนิดที่จะกล่าวถึงคงมีผู้รู้จักน้อยคือ "แว่นในลูกตา" ซึ่งลุกล้ำเข้าอยู่ในภายหลังตาดำตรงตำแหน่งใกล้กับที่เลนส์ตาตามธรรมชาติอยู่

read more

เหตุใดสัตว์จึงต้องเปลี่ยนรูปร่างเมื่อเจริญเติบโต?

การเปลี่ยนรูปร่างของแมลงนั้นก็เพื่อให้เหมาะกับวิถีทางดำรงชีวิตของมัน เช่น เรื่องการหาอาหาร การเคลื่อนไหว และการสืบพันธุ์ต่อไป

read more

การผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจมีจริงหรือไม่?

ารผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจได้เริ่มทำสำเร็จในมนุษย์เป็นครั้งแรกเมื่อ 20 ปีก่อนโดยนายแพทย์คริสเตียน บาร์นาท ที่เมืองแคบทชาวประเทศแอฟริกาใต้ในปีถัดมาก็มีการทำกันในประเทศสหรัฐอเมริกาและในบางประเทศในทวีปยุโรป

read more

การรับกลิ่นเกิดขึ้นได้อย่างไร?

กลิ่น เป็นโมเลกุลระเหยง่ายร่องรอยในอากาศเมื่อเราสูดลมหายใจเข้ากลิ่นจะไหลไหลพลูเข้ามาในช่องจมูกผ่านเนื้อเยื่อบุพรุนมีช่องให้กลิ่นผ่านเข้าไป กลีบลิมบิก (Limbic robe)

read more

เอกซเรย์คอมพิวเตอร์มีหลักการทำงานอย่างไร?

เอกซเรย์คอมพิวเตอร์จึงนับได้ว่าเป็นความก้าวหน้าที่สำคัญของวิทยาศาสตร์การแพทย์เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์รุ่นแรกมีขนาดเล็กใช้สำหรับตรวจศีรษะและสมองเท่านั้นสำหรับเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถใช้ตรวจได้ทั่วร่างกายดังที่เราใช้กับพวกผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาลใหญ่ๆ

read more

ในประเทศไทยเรามีผึ้งกี่ชนิดอะไรบ้าง?

ผึ้ง จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมอาร์โธรพอด จัดเป็นแมลงชนิดหนึ่งอาศัยรวมกันอยู่เป็นฝูง โดยส่วนใหญ่จะออกหาอาหารเป็นน้ำหวานจากเกสรของดอกไม้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อพืชในการผสมพันธุ์ ผึ้งทำงานกันเป็นระบบ มีผึ้งนางพญาเป็นหัวหน้าใหญ่

read more

การแข็งตัวของเลือดเกิดขึ้นได้อย่างไร?

เอนไซม์ชื่อ Prothrombines ซึ่งจะช่วยย่อยโปรตีนไฟบริโนเจน ซึ่งละลายใน Plasma กลายเป็นโปรตีนไฟบริน ซึ่งในที่สุดจะรวมตัวกันทำให้เป็น สายร่างแหที่สามารถจับเม็ดเลือดแดงให้เป็นก้อนไว้ได้

read more

จะรู้ได้ยังไงว่าเป็นโรคเบาหวาน?

รคเบาหวาน (Diabetes) คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการทำงานของฮอร์โมนที่ชื่อว่า อินสุลิน (Insulin)

read more

ริดสีดวงคืออะไร?

ริดสีดวงทวาร หมายถึง การมีกลุ่มของหลอดเลือดดำบริเวณปลายสุดของลำไส้ใหญ่และที่ขอบรูทวารหนักโป่งพองและยื่นออกมา

read more

อัลตร้าซาวด์ทำงานได้อย่างไร?

อัลตร้าซาวด์เป็นคลื่นเสียงชนิดหนึ่ง ซึ่งมีความถี่สูงกว่า 20,000 Hz คลื่นเสียงอัตร้าซาวด์นี้ปัจจุบันได้ถูกนำมาพัฒนาเป็นเครื่องมือแพทย์ ใช้ในการตรวจวินิจฉัยโรคต่างๆ รวมทั้งการตรวจสุขภาพของทารกในครรภ์

read more

กระเจี๊ยบแดงมีประโยชน์อย่างไร?

กระเจี๊ยบเปรี้ยว หรือ กระเจี๊ยบแดง เป็นพืชสมุนไพรที่เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 3–6 ศอก ลำต้นและกิ่งก้านมีสีม่วงแดง

read more

วัสดุ ตัวนำยิ่งยวด

ตัวนำยวดยิ่ง (อังกฤษ: superconductor)ตัวนำยวดยิ่งเป็นวัสดุที่มีสมบัติทางด้านฟิสิกส์ของแข็ง (Solid-state physics) ที่โดดเด่นกว่าวัสดุชนิดอื่นสองด้านสำคัญ คือ สมบัติทางไฟฟ้าและสมบัติทางแม่เหล็ก

read more

ผงชูรสทำให้อาหารมีรสอร่อยจริงหรือไม่?

ผงชูรส คือเกลือของกรดกลูตามิค ซึ่งเป็นกรดอมิโนชนิดหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบสำคัญและพบอยู่ในโปรตีน ผงชูรส มีชื่อทางเคมีว่าโมโนโซเดียมแอลกลูตาเมต มีลักษณะเป็นผลึกสีขาว ปราศจากกลิ่น และมีรสเฉพาะตัว ใช้ปรุงแต่งรสอาหาร และสารที่นำมาใช้เป็นสารชูรสคือ แอลกลูตาเมต

read more
1  2  3  4  5  6 
^